|
|
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทำไร่ ทำนา ทำสวน นาปี และนาปรัง |
|
|
|
 |
|
ลักษณะทางภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมมี 3 ฤดู คือ |
|
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม |
|
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม |
|
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
|
|
 |
|
เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา สูงกว่าระดับน้ำทะเล 340 เมตร ลาดเอียงมาทิศตะวันตก และมีคลองชลประทาน เช่น ลำน้ำกวง ลำน้ำแม่ออน เหมืองเปาและเหมืองฮ้อ ไหลผ่านเป็นสายหลักของเกษตรกรสภาพดิน เป็นดินร่วนปนทราย มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูกพืช การเกษตรทุกชนิด |
|
|
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 และ ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นๆ ร้อยละ 1 วัด/สำนักสงฆ์ จำนวน 7 แห่ง |
|
วัดวังธาร |
หมู่ 1 บ้านวังธาร |
|
วัดบ้านใหม่ |
หมู่ 2 บ้านใหม่ |
|
วัดร้องวัวแดง |
หมู่ 3 บ้านร้องวัวแดง |
|
วัดม่วงเขียว |
หมู่ 4 บ้านม่วงเขียว |
|
วัดน้ำจำ |
หมู่ 6 บ้านน้ำจำ |
|
วัดม่วงม้าเหนือ |
หมู่ 8 บ้านม่วงม้าเหนือ |
|
วัดม่วงม้าใต้ |
หมู่ 9 บ้านม่วงม้าใต้ |
|
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
ประเพณีและงานประจำปี |
|
ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม |
|
งานของดีอำเภอสันกำแพง ประมาณเดือน ธันวาคม - มกราคม |
|
งานมหกรรมไม้ดอกไม้ประดับจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ |
|
ประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ประมาณเดือน พฤษภาคม |
|
|
|
|
ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน |
|
|
ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน |
|
|
ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน |
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลร้องวัวแดง ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่น ได้แก่ เครื่องจักสาร งานศิลปะ ประยุกต์อีกมากมาย และยังมีศิลปะภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านนาฏศิลป์ เช่นการฟ้อนเล็บ รำดาบ ฯลฯ |
|
ภาษาถิ่น |
|
ส่วนมากร้อยละ 90 พูดภาษาพื้นเมือง |
|
|
|
|
|
|
โรงเรียนอนุบาลองค์การบริหารส่วนตำบล ร้องวัวแดง |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านใหม่ |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดร้องวัวแดง |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดน้ำจำ |
|
โรงเรียนรวมศูนย์วัดร้องวัวแดง |
|
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 11 แห่ง |
|
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน วัดน้ำจำ จำนวน 1 แห่ง |
|
|
|
|
|